5 วิ ธีปรับปรุงบำรุงดิน ให้ปลูกพืชงามโตเร็ว

ดินคืออาหารของพืชที่เป็นส่วนช่วยให้พืชนั้นเจริญเติบโตได้ดีได้เร็วขึ้น วันนี้เรามีความรู้ดีๆเกี่ยวกับการปรับปรุงบำรุงดิน มาฝาก สำหรับใครที่ปลูกพืชแล้วไม่งามลองนำวิ ธีเหล่านี้ไปลองทำต ามกันดู ว่าแต่จะเป็นอ ย่ างไรนั้นเราไปดูพร้อมๆกันเลย

นี่คือข้ อมูลส่วนหนึ่งที่ถูกเ ผ ย แ พ ร่ในรูปแบบของเอกส า ร ซึ่งถูกนำมาเ ผ ยแ พ ร่ในงาน มหก ร ร มสร้างสุขภาคอีสาน ครั้งที่ ๒ ในระหว่าง ๑๖-๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ ในส่วนของลานกิจก ร ร ม บริเวณชั้น ๑ กลุ่มที่ ๔ หัวข้ อ สุขภาวะ นวัตก ร ร มหมูหลุม, สาธิตการทำน้ำห มั ก, การกู้ชีพ ณ หอประชุมเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา มหาวิทย าลัยร าชภัฏมหาส า รคาม

เ ท ค นิ คการปรับปรุงบำรุงดิน

1. ปุ๋ ยห มั กเร่งด่วน โบกาชิ

ส่วนผสม ประกอบด้วย

มูลสั ต ว์แห้ง 1 ส่วน + แกลบดิน 1 ส่วน + รำละเอียด 1 ส่วน หรือ มูลสั ต ว์แห้ง 5 ส่วน + แกลบดิน 5 ส่วน + แกลบเผา 3 ส่วนรำละเอียด 2 ส่วน

การเตรียม

คลุกเคล้าส่วนผสมให้เข้ากันดี รดด้วยน้ำห มั กชีวภาพ น้ำห มั ก 1 แก้ว + กากน้ำต าล 1 แก้ว + น้ำ 10 ลิตร ให้พอหมาด เอาไปกองไว้ในที่ร่มให้หนา 1 ฟุต คลุมกองด้วยกระสอบป่านหรือเศษพืช คอยกลับกองไม่ให้ร้อนจัด ประมาณ 7-10 วัน จะมีก ลิ่ นหอมคล้ายเห็ด มีร าสีข า ว และกองปุ๋ ยเย็นลง ผึ่งให้แห้ง เก็บใส่กระสอบไว้ใช้ได้

การใช้ เช่นเดียวกับปุ๋ ยห มั ก แต่ลดปริมาณเพียง 1 ใน 5 เช่น หว่านใส่นาข้าว ถ้าปุ๋ ยห มั กต้องใช้ 1 ตจัน/ไร่ ถ้าใส่โบกาชิ ใช้เพียง 200 กก./ไร่ โดยแบ่งใส่ช่วงไถ 100 กก. หลังปักดำ 7 วัน 30 กก. ข้าวอายุ 1 เดือน 30 กก. และก่อนข้าวตั้งท้องอีก 40 กก.

2. ปุ๋ ยพืชสด

คือ การไถกลบหรือคลุกพืชที่ยังสด และมีสีเขียวอยู่ลงไปในดิน เพื่อปรับปรุงดินและเพิ่มธาตุอาหารให้แก่ดิน ซึ่งส่วน มากนิยมใช้พืชตระกูลถั่ว เนื่องจากมีปมร ากเป็นที่อยู่ของจุลินทรีย์ที่สามารถตรึงไนโตรเจนจากอากาศได้ ปุ๋ ยพืชสดส่วนใหญ่จะประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่ย่อยสล า ยได้รวดเร็ว มีประมาณ 50-80เปอร์เซน เป็นส่วนที่ให้ไนโตรเจนแก่พืชที่ปลูกต ามมา อีกส่วนหนึ่งเป็นส่วนที่ย่อยสล า ยช้า จะช่วยเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุให้แก่ดิน ชนิดของปุ๋ ยพืชสด ได้แก่ พืชตระกูลถั่ว เช่น ถั่วเขียว ถั่วพุ่ม ถั่วพร้า ถั่วขอ ถั่วเหลือง ถั่วลิสง และถั่วอื่นๆ , โสนอัฟริกัน, ปอเทือง, กระถิน, แค, ชะอม, ฉำฉา, อะร าง ตลอ ดจนพืชน้ำ เช่น จอ ก ผักตบชวา เป็นต้น

วิ ธีการ

1 ปลูกพืชหมุนเวียน โดยปลูกสลับกับพืชหลัก เช่น หลังจากเก็บเกี่ยวข้าวแล้วก็ปลูกพืชปุ๋ ยสด และไถกลบเมื่อพืชปุ๋ ยสดเริ่มออ กดอ กจนถึงดอ กบาน ส่วนใหญ่ประมาณ 45-60 วัน ซึ่งเป็นช่วงที่มีธาตุไนโตรเจนสูงสุด และน้ำหนักสดก็สูงด้วย ถ้ารอจนเก็บเกี่ยวเมล็ดแล้วไถกลบเศษพืชที่ยังเขียวอยู่ก็ได้ แต่จะได้ประโยชน์น้อยลง

2 ปลูกก่อนปลูกข้าวประมาณ 3 เดือน คือ ปลูกพืชปุ๋ ยสดประมาณปล า ยเดือนเมษายน แล้วไถกลบปล า ยเดือน มิถุนายน แล้วจึงดำข้าวต าม

3 ปลูกเป็นพืชแซม โดยปลูกแซมในแถวพืชหลัก เช่น ปลูกข้าวโพดแซมด้วยถั่วพร้า เมื่อพืชปุ๋ ยสดได้อายุพอแล้วก็สับกลบลงในดินเพื่อให้พืชหลักได้รับธาตุอาหาร

3. การใช้วัสดุคลุมดิน

วิ ธีการ

1 การใช้เศษอินทรียวัตถุ เช่น ใบไม้ หญ้า ฟาง แกลบ ขี้เลื่อย ชานอ้อย อินทรียวัตถุสดจากต้นไม้ ขยะอินทรีย์จากครัวเรือน มูลสั ต ว์แห้ง คลุมดินในบริเวณที่ปลูกพืช หรือ บริเวณที่ไม่ต้องการให้เกิดการชะล้างพังทล า ย

2 การปลูกพืชคลุมดิน นิยมใช้พืชตระกูลถั่ว เนื่องจากพืชหลักจะได้รับแร่ธาตุจากการร่วงหล่นของใบพืชคลุมดิน และได้ไนโตรเจนโดนการตรึงของปมร ากพืชตระกูลถั่ว

ประโยชน์

1 ปรับปรุงบำรุงดิน อินทรียวัตถุที่คลุมดินจะค่อยๆย่อยสล า ยให้ฮิวมัส และปลดปล่อยแร่ธาตุอาหารให้แก่พืชอ ย่ างช้าๆ เปรียบเหมือนการทำ ปุ๋ ยห มั กที่ผิวหน้าดิน

2 เพิ่มปริมาณสิ่งมีชีวิตในดิน และช่วยเพิ่มผลผลิตพืช

3 รั ก ษ าความชื้นภายในดิน ทำให้พืชไม่เหี่ยวเฉา และประหยัดน้ำในการเกษตร

4 ทำให้อุณหภูมิของผิวดินไม่สูงมากนัก จึงมีอุณหภูมิและความชื้นที่เหมาะสมต่อพืช รวมทั้งจุลินทรีย์ต่างๆ

5 ป้องกันการชะล้างของผิวดินเนื่องจากน้ำและลม

6 ช่วยควบคุมวั ช พื ช และลดความจำเป็นในการไถพรวน

ข้ อควรร ะ วั ง

1 วัสดุที่ใช้คลุมดินควรมีลักษณะแห้ง เพื่อมิให้เกิดการห มั กจนเกิดความร้อน

2 วัสดุคลุมดินที่ย่อยสล า ยย าก เช่น แกลบ ขี้เลื่อย ควรใช้วัสดุที่มีการย่อยสล า ยแล้วบางส่วน เพื่อป้องกันการแย่งไนโตรเจนจากพืช และไม่ควรทับถมกันแน่นจนเกินไป เพร าะจะเกิดสภาพการย่อยสล า ยแบบไร้ออ กซิเจน ซึ่งจะทำให้เกิดก ร ดที่เป็นพิ ษต่อพืช

4. ปุ๋ ยห มั กชีวภาพ ปุ๋ ยชีวภาพในท้องถิ่น ที่นอ กเหนือจากการใช้ขยะเปียก มีขั้นตอนในการเตรียมดังนี้

เลือ กวัสดุที่จะใช้ทำปุ๋ ยห มั ก ควรเป็นวัสดุที่หาได้ง่ายในแปลงหรือพื้นที่ ย่อยสล า ยง่าย เป็นวัสดุเหลือใช้ในการเกษตรหรือครัวเรือน วัสดุเหลือใช้จากโรงงานที่ใกล้เคียง เช่น ฟางข้าว ผักตบชวา หญ้า ส่วนต่างๆของมันสำปะหลัง ต้นและซังข้าวโพด เถาและเปลือ กถั่วลิสง เมื่อเป็นปุ๋ ยห มั กจะให้ธาตุอาหารหลักแก่พืชในปริมาณที่สูง หรืออาจจะเป็นวัสดุที่ย่อยสล า ยย าก เช่น ขี้เลื่อย แกลบ กากอ้อย ขุยมะพร้าว ซึ่งเมื่อเป็นปุ๋ ยห มั กจะให้ธาตุอาหารหลักต่ำกว่า แต่ให้ส า รปรับปรุงดิน มากกว่าปุ๋ ยห มั กจากวัสดุที่ย่อยสล า ยง่าย ซึ่งจะส่งผลดีต่อ ดินและพืชในระยะย าว โดยในการทำปุ๋ ยห มั กอาจจะใช้วัสดุหล า ยชนิดทำการห มั กร่วมกัน โดยใช้วัสดุย่อยสล า ยย ากและง่ายร่วมกัน โดยวิ ธีการนี้จะทำให้ใช้ระยะเวลาในการย่อยสล า ยสั้นลงกว่าการใช้แต่เพียงวัสด ุย่อยสล า ยย าก และยังทำให้ปุ๋ ยมีทั้งธาตุอาหารและส า รปรับปรุงดิน

นำเศษวัสดุมากองรวมกันบนพื้นที่ร าบ หรือในหลุม ให้ขนาดกว้างประมาณ 2-3 เมตร สูงประมาณ 1-1.5 เมตร ผสมเศษวัสดุคลุกเคล้าให้ทั่วถึง รดด้วยน้ำห มั กชีวภาพ กากน้ำต าล ผสมน้ำในอัตร าส่วน 1 : 10 ให้ชุ่มพอสมควร บีบเศษวัสดุไม่ให้ออ กต ามนิ้วมือ เมื่อคล า ยมือออ กวัสดุยังจับตัวเป็นก้อน

คลุมกองปุ๋ ยด้วยพลาสติก ทางมะพร้าว ฟาง หรือเศษพืช เพื่อลดการระเหยของน้ำ

ดูแลกองปุ๋ ยห มั กให้มีความชื้นที่พอเหมาะอยู่เสมอ ถ้ากองปุ๋ ยแห้งเกินไป บีบดูแล้วไม่มีน้ำติดมือ ต้องรดน้ำเพิ่ม เพร าะถ้าความชื้นน้อยเกินไปจะทำให้กระบวนการย่อยสล า ยของจุลินทรีย์เกิดขึ้นไ ด้ช้า รวมทั้งถ้าแฉะเกินไป ทำให้เกิดการข า ดออ กซิเจน กระบวนการย่อยสล า ยที่เกิดขึ้นก็เกิดได้ช้าเช่นกัน

ระบายอากาศแก่กองปุ๋ ยอ ย่ างสม่ำเสมอ โดยสอ ดท่อเจาะรูในกองปุ๋ ยตั้งแต่แรกเริ่ม หรือ กลับกองปุ๋ ยทุก 5-7 วัน เนื่องจากจุลินทรีย์ต้องใช้ออ กซิเจนในการสร้างพลังงาน และโดยเฉพาะถ้าใช้วัสดุที่มีขนาดใหญ่ทำการกองเป็นชั้นๆ การกลับกองจะช่วยคลุกเคล้าเศษวัสดุให้เข้ากัน

เมื่อ กระบวนการห มั กเสร็จสมบูรณ์แล้ว ประมาณ 3 เดือน ก็สามารถนำไปใช้ได้ โดยสังเกตจาก สีของเศษวัสดุจะเป็นสีน้ำต าลเข้มจนถึงดำ อ่อนนุ่ม ยุ่ย ไม่มีก ลิ่ นเหม็นหรือฉุน อุณหภูมิภายในกองปุ๋ ยใกล้เคียงกับภายนอ ก

การใช้

1 ใส่แบบหว่านทั่วแปลง ประมาณ 1-3 ตัน / ไร่ โดยหว่านในช่วงเตรียมดินแล้วไถกลบทันที

2 ใส่แบบโรยเป็นแถว ประมาณ 1-3 ตัน/ไร่ โดยโรยในช่วงเตรียมดินแล้วพรวนดินกลบ หรือโรยใส่แถวพืช / แปลงผักแล้วพรวนดินกลบ

3. ใส่แบบหลุม ประมาณ 20-50 กก./ หลุมแบ่งใส่เป็น 2 ระยะ ระยะเตรียมหลุม ใส่ปุ๋ ยห มั กลงในหลุมคลุกเคล้าด้วยหน้าดิน แล้วจึงใส่ต้นไม้ ระยะที่พืชเจริญแล้ว ขุดเป็นร่องรอบๆต้น ต ามแนวทรงพุ่ม ใส่ปุ๋ ยห มั กลงในร่องแล้วกลบด้วยดิน ในกรณีไม้ผลที่เติบโตแล้วอาจเพิ่มปริมาณปุ๋ ยห มั กมากขึ้น และมักใส่ปีเว้นปี

5. การไถกลบเศษวัสดุ

คือ การนำเศษวัสดุเหลือใช้ เช่น ฟางและตอฟาง เถาและเปลือ กถั่วลิสง ใบและยอ ดอ้อย ใบไม้แห้ง แกลบ คายข้าว ขี้เลื่อย กากอ้อย ขี้อ้อย ไถกลบลงในดินในระหว่างการเตรียมพื้นที่เพาะปลูก แล้วทิ้งไว้ระยะหนึ่ง เพื่อให้เกิดกระบวนการย่อยสล า ยวัสดุในดินก่อนที่จะทำการเพาะปลูกต่อไป

วิ ธีการ

หลังเก็บเกี่ยวผลผลิตแล้วควรทิ้งเศษพืชไว้ในแปลงเพื่อรั ก ษ าผิวหน้าดิน ก่อนทำการเพาะปลูกประมาณ 1 เดือน ก็ทำการไถกลบเศษวัสดุ ซึ่งอาจมีการนำเศษวัสดุนอ กแปลงมาเพิ่มเติมด้วย ในพื้นที่ทำนา หลังจากไถกลบแล้ว 1 เดือน จึงทำการปล่อยน้ำเข้านาเพื่อเตรียมดำต่อไป ในพื้นที่ที่มีการปลูกพืชหมุนเวียนตลอ ด เศษพืชแต่ละชนิดก็ทำการไถกลบก่อนปลูกพืชต่อไป

ประโยชน์

1 เพิ่มอินทรียวัตถุให้กับดิน และช่วยปรับปรุงสภาพดิน

2 รั ก ษ าความเป็นก ร ดด่างของดินให้อยู่ในสภาพที่เหมาะสมกับพืช

3 เพิ่มความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารในดิน

4 ลดการสูญเ สี ยธาตุอาหารในดิน ซึ่งจะติดไปกับเศษพืชที่ถูกเผาหรือนำออ กจากแปลงถ้าไม่มีการไถกลบ

5 เพิ่มกิจก ร ร มของจุลินทรีย์ในดิน และลดปริมาณศั ต รู พื ชในดิน

6 เพิ่มผลผลิตพืชที่เพาะปลูก

ที่มา เอกส า รเผยแพร่ในงาน มหก ร ร มสร้างสุขภาคอีสาน ครั้งที่ ๒ ระหว่าง ๑๖-๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ ในส่วนของลานกิจก ร ร ม บริเวณชั้น ๑กลุ่มที่ ๔ หัวข้ อ สุขภาวะ นวัตก ร ร มหมูหลุม, สาธิตการทำน้ำห มั ก, การกู้ชีพณ หอประชุมเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา มหาวิทย าลัยร าชภัฏมหาส า รคาม postnoname