วันนี้เรามีความรู้ดีๆเกี่ยวกับการติดตั้งแอร์ ที่เพื่อนๆมักจะเห็นเครื่องที่อยู่ภายนอ กตัวบ้านที่หล า ยคนอาจจะมีข้ อสงสัยหล า ยๆจุด เช่นเรื่องทำท่อตัวยูเมื่อตั้งคอยล์ร้อนสูงเหนือคอยล์เย็น วันนี้เราเลยจะพามาไขข้ อสงสัยนี้กัน จะเป็นอ ย่ างไรเราไปดูกันเลย
แอร์เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ต้องบอ กเลยว่า มีความจำเป็นอ ย่ างมากในปัจจุบัน สำหรับ ยิ่งเมืองไทยหน้าร้อน ไม่ได้แอร์ช่วยคงจะร้อนอบอ้าวกันสุดๆ ปัจจุบันนี้แอร์ก็ร า ค าจับต้องได้ ไม่แพงจนเกินไป และยังประหยัดไฟอีกด้วย ในการติดตั้งแอร์ก็เป็นเรื่องที่สำคัญควรรู้เบื้องต้น ตำแหน่งการติดตั้ง ขนาดของเครื่องแอร์กับขนาดห้องให้พอ ดี รวมไปถึงเรื่องคอมแอร์
อ ย่ างล่าสุด ทางด้านผู้ใช้เฟสบุ๊ก Tanakit Laisomboon ได้โพสต์ตัวอ ย่ างถ้าหากว่ามีการติดตั้งคอยล์ร้อนในตำแหน่งสูงเหนือคอยล์เย็น จะต้องมีการทำท่อ Trap โดยได้โ พ ส ต์ระบุว่า กฎของการเดินท่อแอร์ ในกรณีที่คอยล์ร้อนสูงกว่าคอยล์เย็น ต้องทำ U-TAP หรือ P-TAP เพื่อประสิทธิภาพการของแอร์ที่ดีขึ้นครับ ทุกท่านคิดว่าอ ย่ างไรบ้างเดินงานแบบนี้ พันธมิตรแอร์บ้านและงานไฟฟ้า
ความคิดเห็นจากชาวเน็ต
ต่ำกว่า ถ้าสูงกว่าน้ำมันคอมจะไหลเข้าคอยล์เย็นเลยต้องทำ p tap ช่างจะเจาะผนังให้ทแยงลงนิดนึงหลังคอยล์เย็น ส่วนท่อที่ขนานบนหน้าต่างจะสโลปลงด้วยเ พ ร า ะ มีท่อน้ำทิ้ง เพื่อเป็นการกักเก็บ น้ำมันหล่อลื่นให้ไปถูกใช้งานได้สม่ำเสมอ ในท่อน้ำย าขณะที่เครื่องหยุดทำงาน ได้ทันท่วงที
สาเหตุที่ต้องทำท่อ Trap ในกรณีที่วางคอยล์ร้อนในตำแหน่งสูงเหนือคอยล์เย็น เนื่องจากอธิบายง่ายๆต ามกฎของธรรมชาติ ที่กล่าวว่า ของเหลวทุกชนิดจะไหลจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ ในระบบเครื่องทำความเย็นก็เช่นกัน น้ำมันที่อยู่ในคอมเพรสเซอร์อยู่ในสถานะของเหลว ซึ่งน้ำมันในคอมเพรสเซอร์ มีหน้าที่ในการระบายความร้อนให้คอมเพรสเซอร์ และ หล่อลื่นระบบทางกลหรือ กลไกในคอมเพรสเซอร์
ในกรณีที่เครื่องทำงาน การดูดอัดสารทำความเย็นของคอมเพรสเซอร์ จะอัดนํ้ามันที่อยู่ในตัวออ กมา พร้อมสารทำความเย็น มาทางท่อทางอัด และดูดกลับเข้าไปในคอมเพรสเซอร์ทางท่อทางดูด ในการติดตั้งโดยวิ ธีให้ชุดคอยล์ร้อน วางในตำแหน่งต่ำกว่าคอยล์เย็น น้ำมันหล่อลื่น ย่อมไหลกลับสู่คอมเพรสเซอร์ต ามแรงดึงดูดอ ย่ างง่ายดาย
แต่หากการติดตั้งที่ต้องวางคอยล์ร้อนให้สูงเหนือคอยล์เย็น ถ้าหากไม่มีการทําท่อ ดักนํ้ามันไว้ นํ้ามันก็จะไหลลงได้เช่นกันเ พ ร า ะในระบบท่อนั้นเป็นสุญญากาศ แต่การไหลกลับจะไหลกลับไม่ทันต่อ การระบายความร้อน เนื่องจากนํ้ามัน มีความหนืดและนํ้าหนักมากกว่า สารทำความเย็นที่มีสถานะเป็นแก๊สในท่อทางดูด ทำให้การระบายความร้อนทำได้ไม่ดี มอเตอร์คอมเพรสเซอร์ร้อนจนถึงร้อนจัดนั่นเอง
ที่มา thaihitz sangkomonline