วิ ธีขอไ ฟเกษตร ไว้ใช้ในที่สวนไร่นา

หล า ยคนอาจจะเกิดความสงสัยว่าไฟบ้านกับไฟเกษตรนั้น มันต่างกันอ ย่ างไร ทำไมการทำเรื่องขอถึงได้ต่างกันกับไฟบ้าน วันนี้เราเลยจะพาคุณมาดูวิ ธีขอไฟเกษตร ซึ่งหล า ยคนอาจจะอย ากได้มาใช้ในไร่นา

ไฟเกษตร คือ การนำไฟฟ้ามาใช้ภายในสวนเพื่อ การทำการเกษตร ซึ่งเราสามารถเข้าร่วมโครงการได้โดยต้องมีข้ อแม้ 9 ข้ อ ดังนี้

1 ต้องได้รับการรับรองจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือ อาจเป็นหน่วยงาน ร า ช การ ที่สามารถยืนยันตัวตนได้ว่าสถานที่นั้นๆไม่ได้อยู่ในเขตพื้นที่หวงห้ามใดๆของทาง ร า ช ก า ร

2 ต้องเป็นเส้นทางที่เป็นทางสาธารณะ คือ รถยนต์สามารถวิ่งผ่านได้ อ ย่ า ง สะดวก

3 สามารถดำเนินการก่อสร้างได้ด้วยวิ ธีปักเสาพาดสายไฟ เพื่อต่อไฟให้เข้าไปถึงจุดที่ขอใช้ไฟฟ้าได้

4 ต้องได้รับการรับรองจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือหน่วยงานราชการ สำหรับการยืนยันขนาดพื้นที่ และประเภทของกิจก ร ร มการ ผ ลิ ต ทางการเกษตรที่ต้องการขอใช้ไฟฟ้า

5 จะต้องมีการระบุแหล่งน้ำเพื่อใช้ในการทำการเกษตรว่า เป็นจากส่วนใด เช่น จากคลอง ส า ธ า ร ณ ะ คลองชลประทาน หรือ แหล่งน้ำใต้ดินอื่นๆ

6 ผู้ขอต้องมีเอก ส า ร และหลักฐานสิทธิ์ต ามประมวล ก ฎ ห ม า ย ของพื้นที่ทำการเกษตร ซึ่งต้องไม่ใช่ที่ดินที่ถือครองโดยเอกชนร า ยใหญ่

7 ต้องเป็นเกษตรกร ร า ย ย่อย ที่ขอติดตั้งมิเตอร์ขนาดไม่เกิน 15(45) แอมป์ ต่อ 1 ร า ย

8 ต้องสามารถออ กใบแจ้งหนี้จากมิเตอร์ไฟเครื่องที่ 2 โดยสามารถแจ้งเก็บเงินไปที่มิเตอร์เครื่องที่ 1 ได้ โดยทั้ง 2 มิเตอร์นี้ต้องอยู่ในเขตพื้นที่การไฟฟ้าเดียวกัน

9 มีค่าใช้จ่ายในการ ข ย า ย เขต เฉลี่ยต่อร า ยไม่เกิน 50,000 บ า ท โดยทาง PEA จะรับผิ ดชอบในการจ่ายค่า ข ย า ย เขต

เอก ส า ร ที่ต้องเตรียม

1 สำเนาโฉนดที่ดิน

2 สำเนา บั ต ร ป ร ะ ช า ช น

3 สำเนา ท ะ เ บี ย น บ้ า น

4 ใบรับรองที่ได้จาก อ ง ค์ ก ร ปกครองส่วนท้องถิ่นหรือหน่วยงาน ร า ช ก า ร

สำหรับอัตรา ค่ า ธรรมเนียมการยื่นขอมิเตอร์ไฟฟ้า

5 (15) แอมป์ ค่ า ธรรมเนียม 1,000 บ าท

15 (45) แอมป์ 1 เ ฟ ส ค่ า ธรรมเนียม 6,450 บ าท

15 (45) แอมป์ 3 เ ฟ ส ค่ า ธรรมเนียม 21,350 บ าท

ตัว อ ย่ า ง ขั้ น ต อ น และ วิ ธีการขอไฟฟ้าลงพื้นที่เพื่อทำเกษตรขั้ น ต อ นและกระบวนการที่จะขอให้มีไฟเกษตรเข้ามาในพื้นที่ก็คือ

เริ่มจากมีความตั้งใจที่จะทำฟาร์มเกษตร อิ น ท รี ย์ ของตนเองและได้ลงมือทำ อ ย่ า ง ต่อเนื่องจนได้พืช พั น ธุ์ หล า ยชนิดแล้ว ส่วนระบบน้ำก็ใช้การเจาะน้ำ บ า ด า ล และดูดน้ำขึ้น มาจากลำห้วยที่เริ่มลงตัว

โดยมีระยะทางจากบ้านถึงไร่ห่างไกลกันประมาณ 10 กม. และการเดินทางก็ค่อนข้างลำบากจึงเลือ ก ป ลู ก ผลไม้ก่อนแทนที่จะปลูกพืขผัก เพราะไม่ต้องดูแลทุกวัน

ด้วยเรื่องราวทั้งหมดนี้ทำให้เจ้าของเรื่องวางแผนสร้างบ้านในพื้นที่ เพื่อที่ในตอนเช้าจะได้ดูแลพืชผักได้ อ ย่ า ง สะดวกใกล้ชิด เป็นที่มาของการขอไฟฟ้าเข้ามาใช้ โดยในการขอไฟฟ้า เ ก ษ ต ร ในพื้นที่ของตนนั้น มีขั้ น ต อ นดังนี้

ที่พักอาศัยต้องมีบ้านเลขที่ หากยังไม่มีก็ต้องไปขอบ้านเลขที่ให้แน่นอนก่อน หากการขอเลขที่บ้านเลขที่นั้นอยู่ไกลจากหมู่บ้าน ก็จะต้องสร้าง เ พิ ง พักหรือสร้างเป็นสิ่งปลูกสร้างถาวรขึ้น

โดยสิ่งต่อไปที่จะต้อง ส ร้ า ง คู่กันไปกับบ้านก็คือห้องน้ำ เพราะการมีห้องน้ำในพื้นที่นั่นแสดงถึงการอยู่อาศัย อ ย่ า ง ถาวร ดังนั้นแล้วการสร้าง ห้ อ ง น้ำจึงจำเป็นสำหรับการขอเลขที่บ้าน

เมื่อเราสร้างเพิ่งพักหรือบ้านพักเรียบร้อยแล้ว ให้เราถ่ายภาพที่พักและห้องน้ำไปให้กับ อ น า มั ย ในพื้นที่ ซึ่งมาตรวจพร้อมกับทำการเซ็นต์เอก ส า ร รับรองการเป็นอยู่ที่ถูกสุขลักษณะ

จากนั้นให้นำหนังสือยื่นกับผู้ใหญ่บ้านในการขอบ้านเลขที่ จากนั้นให้นำไป ยื่ น ต่อที่อำเภอเพื่อลงทะเบียนขอสำเนาทะเบียนบ้าน เท่านี้เราก็จะได้ทะเบียนบ้าน พ ร้ อ ม กับเลขที่บ้าน มา

ที่มา krustory    pooddee