คน มีรถควรรู้ไว้ ต่อ พ.ร.บ. รถยนต์ทุกปี เบิกได้ถึงสามแ ส น

สวัสดีจ้าเพื่อนๆ วันนี้เราจะพามาเรียนรู้เกี่ยวกับ พ.ร.บ. รถยนต์กัน หล า ยคนอาจจะไม่เคยรู้มาก่อนว่าที่เราต่อ พ.ร.บ. ทุกๆปีนั้นสามารถเบิกอะไรได้บ้าง แต่ละอ ย่ างเบิกได้เท่าไหร่กัน ฉนั้นวันนี้เราจะพามาดูกัน ยิ่งคน มีรถควรรู้ไว้เพื่อผลประโยชน์ของเรา

แน่นอนว่ารถยนต์ทุกคันต้องทำ พ.ร.บ. รถยนต์ เพราะเป็นสิ่งที่กฎห ม า ยบังคับต าม พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภั ยจากรถ พ.ศ. 2535 ประโยชน์ของการทำ พ.ร.บ. รถยนต์จะให้ความคุ้มครองและเบิกได้ดังนี้

ค่า เ สี ย ห า ยเบื้องต้น

เป็นเ งิ นค่าใช้จ่ายที่ผู้ประสบภั ย (ทั้งผู้ขับขี่ ผู้โดยส า รและบุคคลภายนอ ก) สามารถเบิกได้เลยโดยยังไม่ต้องพิสูจน์ว่าฝ่ายใดเป็นฝ่ายถูกหรือฝ่ายผิ ด โดยทางบริษัทประกันภั ยจะจ่ายค่า เ สี ย ห า ยเบื้องต้น ภายใน 7 วัน ดังนี้

ค่า รักษ าพ ย า บาล (จ่ายต ามจริง) กรณีบาดเ จ็ บ สามารถเบิกได้สูงสุดคนละ 3O,OOO บ า ท

กรณี เ สี ย ชีวิต สูญ เ สี ย อวัยวะ หรือทุพพลภาพถาวร (พิการ) สามารถเบิกได้ 35,OOO บ า ท

ในกรณีที่ได้รับความ เ สี ย ห า ยทั้ง 2 กรณี จะได้รับเ งิ นชดเชยรวมกันไม่เกิน 65,OOO บ า ท

พ.ร.บ รถยนต์ เบิกค่า เ สี ย ห า ยอะไรได้บ้าง

ค่าสินไหมทดแทน

สำหรับเ งิ นค่าสินไหมทดแทนนี้ ผู้เคลมประกัน พ.ร.บ. รถยนต์ จะได้รับค่าสินไหมทดแทนหลังจากที่ได้รับการพิสูจน์แล้วว่าตนเองเป็นฝ่ายถูกต ามกฎห ม า ย โดยสามารถเบิกค่า เ สี ย ห า ยได้ดังนี้

ค่า รักษ าพ ย า บาล สูงสุดคนละ 80,OOO บ า ท

กรณี เ สี ย ชีวิต หรือทุพพลภาพถาวร (พิการ) คนละ 3OO,OOO บ า ท

กรณีสูญ เ สี ย อวัยวะ

สูญ เ สี ย อวัยวะ 2 ส่วนขึ้นไป 3OO,OOO บ า ท, สูญ เ สี ย อวัยวะ 1 ส่วน 25O,OOO บ า ท, สูญ เ สี ย นิ้ว ตั้งแต่นิ้วเดียวขึ้นไป 2OO,OOO บ า ท

ค่าชดเชยกรณีนอนพัก รักษ าตัวในโรงพ ย า บาล (ผู้ป่ ว ยใน) 2OO บ า ทต่อวัน (ไม่เกิน 2O วัน)

พ.ร.บ รถยนต์ เบิกค่า เ สี ย ห า ยอะไรได้บ้าง

ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า หากเราขับรถยนต์ประสบอุบั ติ เ ห ตุ ถ้ามี พ.ร.บ.รถยนต์ก็จะได้รับความคุ้มครองอันแรกเป็น ค่า เ สี ย ห า ยเบื้องต้น ซึ่งสามารถเบิกได้แม้อุบั ติ เ ห ตุ ที่เกิดขึ้นจะไม่มีคู่กรณีก็ต าม และหากเมื่อพิสูจน์ได้ว่าอุบั ติ เ ห ตุ ครั้งนั้นเราเป็นฝ่ายถูก ก็จะได้รับค่าสินไหมทดแทนเพิ่มเติม

เอกส ารสำคัญที่ต้องใช้ในการเคลม พ.ร.บ.

1 กรณีบ า ดเ จ็ บ

สำเนาบัตรประชาชนผู้ประส บ อุ บั ติ เห ตุ, ใบเสร็จรับเ งิ นต้นฉบับ กรณีเบิกค่าชดเชยหรือผู้ป่ ว ยใน , ใบรับรองแ พ ท ย์หรือหนังสือรับรองการรั ก ษ าตัวผู้ป่ ว ยใน

2 กรณีทุ พ พ ล ภาพ

สำเนาบัตรประชาชนผู้ประสบอุ บั ติ เ ห ตุ, ใบรับรอง แ พ ท ย์และหนังสือรับรองความ พิก า ร, สำเนาบันทึกประจำวันของพนักงานสอบสวนหรือหลักฐานอื่นที่แสดงว่าผู้นั้นได้รับความ เ สี ย ห า ยจากการประส บ ภั ย จากรถ

3 กรณีเ สี ย ชี วิ ต

สำเนาบัตรประชาชนผู้ประ ส บ อุ บั ติ เ ห ตุ / ใบ ม ร ณ ะ บัตร, สำเนาบัตรประชาชนทาย า ท, สำเนาทะเบียนบ้าน, สำเนาบันทึกประจำวันใครคดีของพนักงานสอบสอน หรือหลักฐานอื่น ๆ ที่แสดงการเ สี ย ชี วิ ตจากการประสบภั ยจากรถ

หลังจากตรวจสอบเอกส า รเสร็จแล้วสามารถยื่นขอเบิกเ งิ นได้กับบริษัทกลางคุ้มครองผู้ประสบ ภั ยจากรถยนต์จำกัด ทุกสาขา บางที่อาจจะใช้ระยะเวลาในการตรวจสอบและคืนเ งิ นให้ใน 7 วัน โดยพ.ร.บ. นี้จะคุ้มครองความ เ สี ย ห า ยของคนเท่านั้น ไม่รวมตัวรถนะ

หากร า ยละเอียดไม่ครบถ้้วนต้องกราบขออภั ยด้วยค่ะ สามารถศึกษาเพิ่มเติม ได้ที่นี่ www.krungsri.com/bank/th/plearn-plearn/get-to-know-compulsory-car-insurance.html

ที่มา  parinyacheewit